Sport Medicine Center


SPORT MEDICINE CENTER


            ค่ะ สำหรับ part นี้ มันหวานจะขอพูดอะไรเล็กน้อยๆเกี่ยวกับ Sport medicine หน่อยค่ะ แต่เป็นแค่บางส่วนนะคะ ที่จะกล่าวถึงวันนี้คือในเรื่องของการทดสอบสมรรถภาพทางด้านร่างกายกับการเล่นกีฬาค่ะ  เราจะรู้ได้อย่างไรว่ากล้ามเนื่อของเราพร้อมต่อการแข่งขันแล้วจริงๆ หรือพร้อมต่อการเล่นกีฬาชนิดนั้นจริงๆ เราจะได้รู้กันค่ะว่าจริงๆแล้วเราเหมาะสมกับชนิดกีฬาไหนผ่านการทดสอบโดยใชเครื่องมือค่ะ โอเค เกริ่นกันมาเยอะแล้ว ไปดูกันเลยดีกว่าค่ะ ^^ 



Conditions & Treatments

           Our certified athletic trainers (ATC) specialize in the prevention, evaluation and treatment of sports injuries and provide emergency care for acute sports injuries.


            ดูแลและรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาทุกชนิด  รวมไปถึงการประเมิน การรักษาอย่างเร่งด่วนพร้อมทั้งป้องกันการเกิดการบาดเจ็บซ้ำ











Performance Assessment



          มีการประเมินสมรรถนะร่างกายในส่วนต่างๆไม่ว่าจะเป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่หรือมัดเล็ก ต่างก็มีผลต่อการเล่นกีฬาชนิดต่างๆทั้งสิ้น ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเราเล่นกีฬาชนิดไหนและมีการใช้กล้ามเนื้ออะไรเป็นพิเศษ 

          เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นของกล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนต่างๆ นั้นมีวิธีการฝึกที่กล้ามเนื้อส่วนต่างๆนั้นแตกต่างกันค่ะ ต่อไปนั้ก็จะแนะนำเกี่ยวกับเครื่องือที่เรียกว่า Isokinetic และ VO2MAX โดยใช้ร่วมกับเครื่อง Cyclus 2


ISOKINETIC คืออะไร

                Isokinetic ( อ่านว่า ไอ-โซ-ไค-เน-ติก)   เป็นคำศัพท์ที่ใช้อธิบายลักษณะการเคลื่อนไหวแบบหนึ่ง ที่ใช้กันมากในทางการแพทย์และเวชศาสตร์การกีฬา คือเป็นลักษณะการเคลื่อนไหวที่ความเร็วคงที่ไม่ว่าจะมีแรงต้านแตกต่างกันระหว่างการเคลื่อนไหวนั้น หรือในการดำเนินชีวิตปกติคือการออกแรงต้าน(ดัน)  ที่ความเร็วคงที่ เช่น การยกของ (กระป๋องน้ำอัดลม, น้ำหนัก) จะเห็นว่าน้ำหนักของสิ่งของเหล่านี้คงที่ แต่ความเร็วในการยกขึ้นอยู่กับเราว่าจะยกแต่ละครั้งให้เร็วแค่ไหน

               ในทางกลับกันการออกกำลังหรือทดสอบกล้ามเนื้อด้วยเครื่อง Isokinetic เราจะสั่งให้เครื่องเคลื่อนไหวที่ความเร็วคงที่ (องศา/วินาที) ตัวเครื่องจะปรับแรงต้านต่อผู้ทดสอบโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ข้อมีการเคลื่อนไหวที่ความเร็วคงที่ เช่น ถ้าเราจะแกล้งเครื่องโดยออกแรงมากขึ้น เครื่องก็จะปรับแรงต้านมากขึ้นเพื่อควบคุมความเร็วให้เป็นตามที่ตั้งไว้

                การทดสอบและการฝึกกล้ามเนื้อด้วยเครื่อง Isokinetic ใช้กันในต่างประเทศมามากกว่า 30 ปี และถือว่าเป็นเครื่องมือที่ดีที่สุดในการทดสอบประสิทธิภาพ และการฝึกกล้ามเนื้อในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดข้อต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเข่า ทางแผนก Sport medicine and Arthroscopy center โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ตจึงได้นำเครื่องมือชนิดนี้มาเพื่อ
  1. เพื่อวัดสมรรถภาพการทำงานของกล้ามเนื้อและข้อ เช่น  ข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ ข้อสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้า ในแต่ละบุคคลเพื่อนำไปวางแผนการออกกำลังกายและการฝึกฝนสำหรับนักกีฬา หรือผู้ที่รักในการออกกำลังกาย
  2. เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพด้านความแข็งแรง ความอดทนและฝึกกำลังของกล้ามเนื้อในนักกีฬา ผู้ป่วย และบุคคลทั่วไปได้
  3. เพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายของผู้ป่วย นักกีฬา หรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา การออกกำลังกาย รวมถึงหลังการผ่าตัด เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปเล่นกีฬาและกลับไปใช้ชีวิตประจำวันได้รวดเร็วยิ่งขึ้น  




PERFORMANCE, GENETICS AND VO2 MAX


                โอเคค่ะตอนนี้เราก็ได้รู้กันไปคร่าวๆแล้วนะคะว่า Isokinetic คืออะไร โอเคค่ะสำหรับใครที่สนใจก็ลองเข้ามาดูได้ค่ะเหมาะสำหรับนักกีฬาทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่นนะคะ รับรองว่าไม่ผิดหวังแน่นอนค่ะ ต่อไปก็ไปดูการวัดสมรรถภาพปวดและการ







              Cardiorespiratory endurance is a key element of health and fitness. In sports, it is reflected in the ability to sustain exercise over an extended period of time. How well the body can take up oxygen, clear lactate, and move efficiently, determines your level of cardiorespiratory endurance, and these factors are largely influenced by age, physical training and genetics.
                 
              การทดสอบนั้นก็เพื่อทดสอบความคงทนของหัวใจซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของสุขภาพและการออกกำลังกาย ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการออกกำลังกายในระยะเวลานาน  และความสามารถของร่างกายในการนำออกซิเจนออกไปใช้ การเคลียร์กรดแลคเตทและสามารนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ   ซึ่งเหล่านี้เองเป็นตัวระดับความทน ปัจจัยที่มีอิทธิพลมากได้แก่ ระยะเวลาการฝึกและพันธุกรรมธุ์
             
              There are several methods to measure cardiorespiratory endurance. Amongst them - and probably the most important one - is the maximal rate of oxygen uptake by the body (VO2max). A high VO2max has been shown to be an important factor for success in intermediate and long distance endurance sports1 2 3, which primarily depend on‘burning’ carbohydrates and fats using oxygen.

             มีหลากหลายวิธีที่เราสามารถรู้ได้ และหลายวิธีที่จะสามารถฝึกฝนได้ค่ะ แต่วิธีที่ใช้ในการวัดระดับการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกายคือการทำ VO2MAX test ซึงจะแสดงให้เห็นถึงปัจจัยสำคัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการฝึก(1,2,3) ซึ่งสิ่งเหล่นีนั้นล้วนอาศัยการเผาผลาญพลังงานที่ได้จากคาร์โบไฮเดรตและไขมัน

                      VO2max is a frequently used measure in sports and science to determine the effect of training, to study the influence of genetic factors on endurance capacity. And, when combined with heart rate and performance tests it can be extremely useful in customizing training plans.


                     สรุปตามบทความนะคะ ก็คือการทดสอบ VO2MAX  นี้มีการใช้ค่อนข้างบ่อยครั้งกับนักกีฬา เนื่องจากเป็ยตัวชี้วัดประสิทธิภาพการทำงานของร่างกาย ความทน ปัจจัยทางพันธุกรรม และผลของอัตตราการเต้นของหัวใจ ซึ่งมีผลต่อรูปแบบการฝึกเฉพาะในแต่ละบุคคลนั่นเองค่ะ


VO2MAX AND THE RATE FOR SUCCESS


                  VO2max คือการวัดค่าการใช้ออกซิเจนสูงสุดของร่างกายใน 1 นาที มีหน่วยเป็น mL/kg/min
 ค่าการดูดซึมเฉลี่ย  VO2max ของเพศชายที่ได้รับการฝึกฝน อยู่ที่ประมาณ 40-45 mL/kg/min และสำหรับเพศหญิงได้รับการฝึกฝนนั้นอยู่ที่  30-35 mL/kg/min(4)   VO2max ของนักกีฬายอดเยี่ยมในการเล่นกีฬาบางชนิดสามารถทำได้สูงถึง ค่า 80 mL/kg/min ในเพศชาย   และในเพศหญิงสูงได้ถึง  70 mL/kg/min ในนักวิ่งหญิงยอดเยี่ยม

                   แต่สำหรับกีฬาทั่วไปที่มีค่า  VO2max สูง  แต่การมีค่า VO2max สูงนั้นก็ไม่ได้เป็นตัวรับประกันนะคะว่าคุณจะประสความสำเร็จรึเปล่า  เนื่องจากผลของ VO2max เพียงแต่สะท้อนให้เห็นถึงการดูดซึมออกซิเจนของร่างกายเหตุผลของเรื่องนี้ก็คือว่า VO2max เพียงสะท้อนให้เห็นถึงการดูดซึมออกซิเจนของร่างกาย (ขึ้นอยู่กับการดูดซึมออกซิเจนในปอด, ส่งไปยัง cardiovascular system และและกล้ามเนื้อสามารถนำไปใช้ได้ ) แต่นั้นไม่ได้บ่งบอกว่าร่างการมีประสิทธิภาพการใช้ออกซิเจนได้ดีขณะเคลื่อนไหว 

VO2MAX AND GENETICS

      
These genes impact cardiorespiratory endurance either via regulation and adaptation of the cardiovascular system, lactate clearance, mitochondrial function and many other biological processes. The FitnessGenes reports explains these processes in further detail, and identifies how your genetic variation relates to your VO2max and overall aerobic potential.

             โดยส่วนใหญ่ความสามารถที่จะปรับ VO2max ให้มีการตอบสนองกับการฝึกนั้นได้รับอิทธิพลจากDNA  ในความเป็นจริงทางพันธุศาสตร์สามารถระบุได้ถึง  47%  ของความแปรปรวนระหว่างบุคคลในการตอบสนองต่อการฝึก  หลายยีนที่มีอิทธิพลต่อ ความสามารถในการฝึก VO2max  เช่น ยีน The ACE, PGC1A, CKM, AMPD1, AKT1, HIF1A, VEGF และยีน ADRB2



          ยีนเหล่านี้มีผลต่อ cardiorespiratory endurance โดยผ่านการควบคุมและการปรับตัวของระบบหัวใจและหลอดเลือด, โดยมีไมโตรคอนเดรียฟังก์ชั่นและกระบวนการทางชีวภาพอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งการทดสอบ VO2MAX จะสามารถอธิบายกระบวนการเหล่านี้ในรายละเอียดต่อไป  และระบุว่าการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับ VO2max แอโรบิกและศักยภาพโดยรวมได้

VO2 MAX AND TRAINING


               ความจุเพื่อปรับ VO2max นั้นขึ้นอยู่กับระดับการออกกำลังกายปัจจุบัน  สำหรับบุคคลที่ไม่เคยได้รับการฝึกฝนมาก่อนนั้นค่อนข้างง่ายต่อการปรับ VO2max เนื่องจากมีขีดจำกัดต่การใช้ออกซิเจนสูงสุดในร่างกาย  ในขณะที่บุคคลที่ผ่านการฝึกอบรมใกล้จะถึงจุด limit แม้ว่าจะ Train ระดับปานกลางและความเข้มข้นต่ำ กลับมีค่า VO2max สูง และส่งผลต่อความทนอย่างมีนัยสำคัญ( 5,6) ทราบว่าเป็นความเข้าใจผิดบ่อยๆ ในเรื่องของการเพิ่มชั่วโมงการฝึกในความเข้มขึ้นระดับต่ำๆ จะมีผลต่อค่า VO2MAX  ในขณะที่การ train ในระยะเวลาที่จำกัดกลับมีผลต่อค่า VO2maxมากกว่า(7)

ด้านล่างนี้จะแสดงการศึกษาเปรียบเทียบการฝึกที่มีผลต่อค่า VO2Max นะคะ เพื่อนๆลองอ่านกันดูค่ะ (คิดว่าไม่แปลน่าจะอ่านพอเข้าใจเนอะ ^^)
           Studies have shown little difference between the improvements in VO2max arising from short or longer intervals in high intensity training. One study, for example, compared two 8-week programs (3 days/week, matched for total work) comprising short intervals of 15 secs work at 90-95% of maximal heart rate + 15 secs active rest, and long intervals of 4 min at 90-95% max HR + 3 min active rest. Both protocols affected VO2max significantly, with an improvement of 5.5 and 7.2% respectively, thus fairly comparable. 
             If you are untrained, we would recommend starting with low intensity endurance training before incorporating interval training 8. This will improve blood flow, enhance the muscles’ capacity to use oxygen for the generation of energy, while slowly allowing the body to adapt to training, thereby limiting the risk of injuries.
              If you are accustomed to cardio based training, we recommend adding interval training at high intensities to your regular cardio program. Improving your cardiorespiratory endurance results in an up- and rightwards shift of your VO2max in exercise tests as displayed in figure 1. Advanced endurance athletes ultimately reach their optimal VO2max, and will primarily focus on shifting their lactate and anaerobic thresholds closer towards their VO2max(see next section). Ultimately improving these thresholds help to increase the speed at which you can sustain performance 8 6 5. Going faster for longer: that’s what endurance sports are all about.

PHYSIOLOGICAL THRESHOLDS

            Important parameters that are closely related to the VO2max but give slightly more functional information for performance are:
1) Aerobic threshold – This occurs at an effort of around 60% of your aerobic capacity or around 80% of your lactate threshold, thus at a relatively low level of intensity that you can maintain for hours. It is measured by the point where lactate just begins to accumulate above the resting level.
2) Anaerobic threshold - This is the point where the amount of carbon dioxide exhaled becomes unaligned with the amount of oxygen consumed, indicating your body is starting to depend more on production of energy by the anaerobic system (glycolysis) than on the aerobic fat burning system (oxidative phosphorylation in the mitochondria). Well trained athletes can maintain performance at this level for approximately 1 hour.
3) Lactate threshold – This is often confused with the anaerobic threshold, but this is the point where the body can no longer clear lactate and thus lactate levels rapidly accumulate. Exercising at the lactate threshold can be maintained for a maximum of 1 hour.







            มาถึงตอนสุดท้ายแล้ววววววววววว วันนี้จริงๆแล้วมันหวานไม่ได้จะมาโฆษณาที่ทำงานหรอกน้าาา เพียงแต่อยากฝากความรู้เล็กๆน้อยๆ ให้ได้รู้กันค่ะ เผือว่ามีคนสนใจเกี่ยวกับการทดสอบ VO2MAX หรือ ISOKINETIC จะได้มาหาข้อมูลกันได้อย่างง่ายๆนะคะ สุดท้ายนี้ขอฝากถึงผู้คนที่รักสุขภาพทุกๆท่านค่ะว่าไม่ว่าชีวิตเราจะดำเนินไปยังไง จะดีจะแย่แค่ไหนนั้น ทุกๆอย่างล้วนเกิดจากการลองเปิดใจแล้วเปลี่ยนความคิด จากนั้นจะกลายเป็นที่มาของพฤติกรรมของเราค่ะ 





References
1 - Brooks GA, Fahey TD, White TP. Exercise Physiology: Human Bioenergetics and Its Applications. Mountain View (CA):Mayfield Publishing Company; 2000.
2 - Astrand P-O, Rodahl K. Textbook of Work Physiology. In: New York, NY: McGraw-Hill Book Company; 1986.
3 - L. Véronique Billat, J. Pierre Koralsztein. Significance of the velocity at V̇O2max and time to exhaustion at this velocity. Sport Med. 1996;22(2):90-108.
4 - Bouchard C, Daw EW, Rice T, et al. Familial resemblance for VO2max in the sedentary state: the HERITAGE family study. Med Sci Sport Exerc. 1998;30(2):252-258.
5 - Gormley SE, Swain DP, High R, et al. Effect of Intensity of Aerobic Training on VO2max. Med Sci Sport Exerc. 2008:1336-1344. doi:10.1249/MSS.0b013e316c4839.
6 - Helgerud J, Hoydal K, Wang E, et al. Aerobic high-intensity intervals improve VO2max more than moderate training. Med Sci Sports Exerc. 2007;39(4):665-671. doi:10.1249/mss.0b013e3180304570.
7 - Thomas TR, Adeniran SB, Etheridge GL. Effects of different running programs on VO2 max, percent fat, and plasma lipids. Can J Appl Sport Sci. 1984;2:55-62.
8 - Laursen PB, Jenkins DG. The scientific basis for high-intensity interval training: optimising training programmes and maximising performance in highly trained endurance athletes. Sports Med. 2002;32(1):53-73. doi:10.2165/00007256-200232010-00003.
9 - Wilmore D, Kenney W. Physiology of Sport and Exercise, 6th Edition.; 2006.
10 - Bouchard C, Rankinen T, Chagnon YC, et al. Genomic scan for maximal oxygen uptake and its response to training in the HERITAGE Family Study. J Appl Physiol. 2000;88(2):551-559. doi:10.1152/japplphysiol.01163.2003.



Credit : https://fitnessgenes.com

Comments